th th
en

          Host cell หรือ เซลล์เจ้าบ้านหมายถึงเซลล์ที่ใช้รับดีเอ็นเอหรือยีนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมและทำให้แสดงคุณลักษณะที่ต้องการซึ่งเซลล์เจ้าบ้านที่นิยมนำมาใช้ ในการรับดีเอ็นเอจากการดัดแปลงพันธุกรรม ได้แก่แบคทีเรีย E.coliเป็นต้นนอกจากเซลล์เจ้าบ้านที่เป็นแบคทีเรียที่ถูกใช้ทดลองในห้องทดลองแล้วในธรรมชาติสิ่งมีชีวิตต่างๆก็สามารถเป็นเซลล์เจ้าบ้านได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ปีกเช่น ค้างคาว นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เช่น วัว สุนัข มนุษย์ หรือแม้แต่สัตว์เลื้อยคลาน เช่น งู โดยสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะทำหน้าที่เป็นแหล่งอาศัยในการเพิ่มจำนวนหรือการฟักตัวของเชื้อชนิดต่างๆเช่นเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา พยาธิตัวแบนและพยาธิตัวกลมยกตัวอย่างเช่น เชื้อไวรัส(Virus) ที่เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็กมาก จะเพิ่มจำนวนด้วยตัวเองไม่ได้ต้องเพิ่มจำนวนในเซลล์ที่มีชีวิตเท่านั้นซึ่งเซลล์ที่มีชีวิตนี้จะถูกเรียกว่าเซลล์เจ้าบ้านหรือHost Cell นั่นเอง

d37b173585fc41f8

ผู้เขียน

กรวิภา เอี่ยมสอ้าง

ที่มาของแหล่งข้อมูล

https://th.eferrit.com/เชื้อโรคอยู่นานเท่าใด/[7 เมษายน 2563]

https://th.eferrit.com/คำแนะนำเกี่ยวกับชนิดขอ/[20 มีนาคม 2563]

https://www.slideshare.net/nanospy/dna-6150055[20 มีนาคม 2563]

https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=1410[7 เมษายน 2563]

http://www.biotec.or.th/biosafety/images/document/G02-GMM%20GL.pdf[7 เมษายน 2563]

 ที่มาของรูปภาพ

https://th.eferrit.com/%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%94/

 
กรอกอีเมลเพื่อติดตามข่าวสาร