th th
en

เสวนา

event-date: 2565-01-15
วิชาเรียน: ชีววิทยา
ประเภทบุคคล: ครอบครัว, บุคคลทั่วไป, ครู/อาจารย์, นักศึกษา
ภาษา: ภาษาไทย

1641799111173

เสวนาภาษาอ๊บ

ร่วมพูดคุยถึงแรงบันดาลใจและความเป็นมา ว่ากว่าจะมาเป็นหนังสือ Amphibians in Nothern Thailand และปันประสบการณ์การวิจัยสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ

 

วิทยากร

Mr. Michael Cota
จากสำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช.

นายสัญชัย เมฆฉาย
จากสำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช.

นางสาวฤทัยรัตน์ สงจันทร์
จากสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช

ดำเนินรายการโดย
ดร.ฉัตรพรรษ พงษ์เจริญ
จากสำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช.

 

พบกัน

วันเสาร์ที่ 15 มกราคม 2565
เวลา 9.30 - 12.00 น.
ณ ห้อง Auditorium
พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
คลองห้า ปทุมธานี
พิกัด https://goo.gl/maps/iirmZTFk2FpP3w9x8

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมงานเสวนาฟรี
ลิงก์ https://forms.gle/4LTbnb6vw7xnyPY77
รับจำนวนจำกัด 30 ท่าน เท่านั้น

 

ประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมงานเสวนาฯ
วันที่ 13 มกราคม 2565
ทาง Facebook : NSM Thailand
ลิงก์ https://www.facebook.com/NSMThailand

 

สอบถามเพิ่มเติม
โทร. 08 4941 9541 (คุณกมลชนก)

เสวนา ‘เสียง : ผัสสะบนโลกที่แตกต่าง’
event-date: 2564-11-12
ประเภทบุคคล: บุคคลทั่วไป
ภาษา: ภาษาไทย

 เสยง ผสสะบนโลกทแตกตาง

'เสียง' แม้จะเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘เสียง’ ไม่ว่าเสียงพูด เสียงดนตรี เสียงธรรมชาติ นั้นมีพลังมากพอที่จะสร้างสรรค์หรือทำลายได้

 

กิจกรรมเสวนา ‘เสียง : ผัสสะบนโลกที่แตกต่าง’ จะเปิดมุมมองความคิดเกี่ยวกับเสียงในบริบทที่แตกต่างจากชีวิตประจำวัน สู่องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเกี่ยวกับเสียงอย่างยั่งยืนในอนาคต โดยเล่าเรื่องเสียงในแง่มุมของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงเสียงที่เกี่ยวข้องกับทุกคนและทุกมิติในสังคม

 

ร่วมเสวนาโดย

คุณอราคิน รักษ์จิตตาโภค
หัวหน้าฝ่ายขับเคลื่อนนวัตกรรม
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

คุณวิพุธ เคหะสุวรรณ
หัวหน้าภาควิชาดนตรีบำบัด
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์มหาวิทยาลัยมหิดล

คุณอุดม อ่อนนาเลน
อดีตวิทยากรนิทรรศการ Dialogue in the dark
(บทเรียนในความมืด)

 

ดำเนินรายการโดย
คุณอาณุภาพ สกุลงาม
สำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ อพวช.

 

วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน 2564
เวลา 13.00 – 16.00 น.
รูปแบบ Zoom conference

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม
https://forms.gle/Xg86kA77RWkLCFuz6 
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564
(รับจำนวนจำกัด 500 ท่าน เท่านั้น)

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณปวิตา 086 657 4894

event-date: 2564-11-14
ประเภทบุคคล: บุคคลทั่วไป
ภาษา: ภาษาไทย

250013359 4455688651154637 8885909930892155633 n

 

ภาพวาดทางวิทยาศาสตร์
งานศิลปะบนความถูกต้องแบบวิทยาศาสตร์...กับความท้าทายในโลกยุค 5G

 

งานเสวนาเรื่อง 'ภาพวาดวิทยาศาสตร์กับอนาคตยุคดิจิทัล'
พาทุกท่านเปิดโลกแห่งวิทย์และศิลป์ ร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับนักวาดภาพวิทยาศาสตร์รุ่นเก๋าและรุ่นใหม่ กับความท้าทายในยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทกับมนุษย์มากขึ้น

 

พบกับ

ผศ.ดร.ศศิวิมล แสวงผล
ผู้เชี่ยวชาญการวดภาพพฤกษศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คุณกานต์ รัตนจุล
นักวาดรูปเกี่ยวกับธรรมชาติ
หนึ่งในผู้ช่วยวาดรูปคู่มือดูนกเมืองไทย

คุณกัลยกร พิราอรอภิชา
นักศึกษาปริญญาเอก
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คุณฐาปนพงศ์ ทรงนิรันดร
นักวิชาการ
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

ดำเนินรายการโดย
คุณพีระณัฏฐ์ โบกรณีย์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

 

วันอาทิตย์ที่ 14 พฤศจิกายน 2564
เวลา 10.00 – 12.00 น.
รูปแบบ Zoom conference

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมฟังการเสวนา
https://forms.gle/qymJXaf5a6HkTvTq7 
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณทัศนัย โทร 02-577-9999 ต่อ 1634

คุยกันฉันวิทย์ "ดูแลสุขภาพกระดูกและข้อ"
event-date: 2564-11-13
ประเภทบุคคล: ครอบครัว, บุคคลทั่วไป
ภาษา: ภาษาไทย

 ดแลสขภาพกระดกและขอ

รู้ทันสุขภาพกระดูกและข้อ!! ก่อนที่จะสายเกินไป

 

กระดูกและข้อเสื่อมเป็นไปตามช่วงวัย แต่เราจะชะลอความเสื่อมให้ช้าที่สุดได้อย่างไร ยิ่งในยุคออนไลน์ที่ต้องทำงานอยู่กับบ้านทั้งวัน...‘กิจกรรมคุยกันฉันวิทย์’ จะมาทำความรู้จักกระดูกและข้อให้มากขึ้น และร่วมพูดคุยถึงการพิชิตและดูแลรักษาโรคกระดูกและข้อเสื่อมในยุคโควิด-19

 

ร่วมพูดคุยโดย

นาวาอากาศโทหญิง ปิยะพร ประมุขสรรค์
แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู
กองเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช

อาจารย์ ดร. นฤพล หวังธงชัยเจริญ
ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ

 

ดำเนินรายการโดย
คุณชลวิทย์ ทองเจริญชัยกิจ
สำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช.

 

วันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2564
เวลา 13.00 – 16.00 น.
Live สดจากเวทีนิทรรศการ Skeleton ทางเพจ NSTFair Thailand และ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม
https://forms.gle/vR1HaRbjLBDWx8G96 
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณชลวิทย์ โทร 085 223 3284

เสวนา ‘การเรียนรู้นอกห้องเรียนกับ อพวช.’
event-date: 2564-11-11
ประเภทบุคคล: บุคคลทั่วไป, ครู/อาจารย์
ภาษา: ภาษาไทย

 การเรยนรนอกหองเรยนกบ อพวช

อพวช. โฉมใหม่...ให้การเรียนรู้สนุกกว่าเดิม

 

พบกับกิจกรรมเสวนา ‘การเรียนรู้นอกห้องเรียนกับ อพวช.’ จะพาทุกท่านไปพบกับจุดสำคัญที่ห้ามพลาดของแต่ละพิพิธภัณฑ์ และกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่จะกระตุ้นความสงสัย ความอยากรู้ และสร้างแรงบันดาลใจ พร้อมสอดแทรกสาระการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติ และเรื่องราวน่ารู้รอบตัว ที่จะทำให้ทุกท่านเห็นว่าการเรียนรู้จะไม่น่าเบื่ออีกต่อไป!!!

 

วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤศจิกายน 2564
เวลา 14.00 – 16.00 น.
รูปแบบ Zoom conference

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมฟังการเสวนา
https://forms.gle/mtqx1SbEBKKjmnAe8 
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564
(รับจำนวนจำกัด 500 ท่าน เท่านั้น)

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณเกศวดี 081 580 3350

event-date: 2564-11-13
วัสดุตัวอย่าง: พิพิธภัณธรรมชาติวิทยา
วิชาเรียน: ชีววิทยา
ประเภทบุคคล: บุคคลทั่วไป
ภาษา: ภาษาไทย

whale

 

เสวนา 'ปริศนา..วันวาฬ' มาไขข้อสงสัยว่าซากวาฬอายุ 3,380 ปี หอยชนิดใหม่ของโลก และฉลามที่ไม่เคยมีใครขุดพบ มาอยู่ ณ ต.อำแพง จ. สมุทรสาคร ได้อย่างไร

 

ร่วมเปิดภาพ 28 วันกับการสำรวจที่น้อยคนจะได้เห็น ว่าใครทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เพื่ออะไร กับ

 

ดร. ฉัตรเฉลิม เกษเวชสุริยา
อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คุณอดุลย์วิทย์ กาวีระ
นักธรณีวิทยา
กองคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ กรมทรัพยากรธรณี

คุณชาญกิจ ชำนิวิกัยพงศ์
นักถ่ายภาพ
ผู้ก่อตั้งเพจ ThaiWhales

สัตวแพทย์หญิง ราชาวดี จันทรา
สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

ดร.สุชาดา คำหา
สำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อพวช.

 

ดำเนินรายการโดย
คุณศักดิ์ชัย จวนงาม
กองสื่อสารวิทยาศาสตร์ อพวช.

 

วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2564
เวลา 13.00 - 15.00 น.
รูปแบบ Zoom conference

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมฟังการเสวนา
https://forms.gle/MePFpqdz1M3TMsFi8 
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564
รับจำนวนจำกัดเพียง 500 คนเท่านั้น

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณสุชาดา โทร. 02-577-9999 ต่อ 1622 หรือ 094 878 6653

เสวนาวิชาการ ‘New Space: อวกาศคือโอกาส’
event-date: 2564-11-13
ประเภทบุคคล: บุคคลทั่วไป
ภาษา: ภาษาไทย

 New Space อวกาศคอโอกาส

สู่ความเวิ้งว้างอันไกลโพ้น!..เมื่ออวกาศอาจไม่ไกลคนไทยอย่างที่คิด

 

พบกับกิจกรรมเสวนาวิชาการ ‘New Space: อวกาศคือโอกาส’ ร่วมรับฟัง พูดคุย แลกเปลี่ยนทำความเข้าใจถึง แนวโน้ม ศักยภาพ โครงสร้างพื้นฐานทั้งที่มีแล้วและกำลังจะเกิด ให้เห็นถึงโอกาสของคนไทยในก้าวต่อไปของมนุษยชาติ เพื่อให้ตระหนักและรับรู้ถึง สถานภาพ และศักยภาพของไทยในการเติบโตด้านเทคโนโลยี และ ธุรกิจที่เกี่ยวกับอวกาศ ช่วยกันมองหาโอกาสที่เป็นไปได้และการเตรียมพร้อมกับบริบทใหม่ทั้งด้านเทคโนโลยี สังคม ธุรกิจ

 

ร่วมเสวนาโดย

ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

ดร.วเรศ จันทร์เจริญ
ผู้ประสานงาน Moon Village Association ประจำประเทศไทย

คุณวสันชัย วงศ์สันติวนิช
หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาเชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการด้านการบินและอวกาศ

คุณณัฐนนท์ ดวงสูงเนิน
บรรณาธิการบริหารสื่อออนไลน์ Spaceth.co

 

วันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2564
เวลา 09.00 – 12.00 น.
รูปแบบ Zoom conference

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม
https://forms.gle/LaqJhCH8vDPHJoWt5
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564
(รับจำนวนจำกัด 500 ท่าน เท่านั้น)

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณฐิติ โทร 095 165 9351

Citizen Science
event-date: 2564-11-18
ประเภทบุคคล: บุคคลทั่วไป
ภาษา: ภาษาไทย

Citizen Science

 

วิทยาศาสตร์ภาคพลเมืองคืออะไร
มีส่วนช่วยพัฒนางานวิจัยได้อย่างไร

 

วิทยาศาสตร์ภาคพลเมืองทวีความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะไม่เพียงสร้างความตระหนัก และเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการให้กับสาธารณชนเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการพัฒนาโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมร่วมแสวงหาความรู้ และเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยอีกด้วย

 

งานเสวนาเรื่อง 'ข้อท้าทายในวิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง (Citizen Science) กับการทำงานอย่างยั่งยืน' นำเสนอตัวอย่างการทำงานวิจัย ที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการสืบค้น จัดเก็บ และเผยแพร่ข้อมูลทางวัฒนธรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งแลกเปลี่ยนข้อมูล เรียนรู้เกี่ยวกับความท้าทายในการทำงานร่วมกับชุมชน

 

พบกับ

คุณสิทธิศักด์ รุ่งเจริญสุขศรี
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้รับผิดชอบโครงการคลังข้อมูลชุมชน

อ.ธำรงค์ บริเวธานันท์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ตัวแทนจากชุมชนศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง จ.ภูเก็ต

คุณวัชชิรา บูรณสิงห์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
ผู้รับผิดชอบโครงการ NAVANURAK คลังข้อมูลวัฒนธรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ

 

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤศจิกายน 2564
เวลา 13.00-16.00 น.
รูปแบบ Zoom conference

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมฟังการเสวนา
https://forms.gle/NMjaAeJuLeUEbQxm8 
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564
(รับจำนวนจำกัดเพียง 500 ท่านเท่านั้น)

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณชีวสิทธิ์ โทร 02-577-9999 ต่อ 1494

Human Impact on Marine Ecosystem
event-date: 2564-11-12
ประเภทบุคคล: บุคคลทั่วไป
ภาษา: ภาษาไทย, English

สัตว์ทะเลหลากหลายที่สูญเสียชีวิตเพิ่มขึ้น...เกิดจากอะไร?
ต้นตอคือขยะพลาสติกจริงหรือ?

 

พบกับ กิจกรรมเสวนา 'วาฬในวิกฤต ผิดนี้...ที่ใคร?' ที่จะมาพูดคุยถึงแนวทางแก้ปัญหา และวิธีการปกป้องสัตว์และสิ่งแวดล้อมทางทะเล

 

พร้อมเปิดตัวภาพยนตร์สารคดี "วาฬบอกที" ครั้งแรกในประเทศไทย ที่จะสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ เพื่อปกป้อง 'เจ้ายักษ์ใหญ่ใจดี' ของน่านน้ำไทย

 

วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน 2564
เวลา 09.00 - 16.00 น.
รูปแบบ Zoom conference

 

ลงทะเบียนเข้าร่วมฟังการเสวนา
https://forms.gle/YcjFodae723Yr7wu5 
ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
คุณนริศรา โทร 02-577-9999 ต่อ 1495 หรือ 098 783 9923

 

Human Impact on Marine Ecosystem 1Human Impact on Marine Ecosystem 2

หน้าที่ 1 จาก 3
 
กรอกอีเมลเพื่อติดตามข่าวสาร